วันเสาร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2551

ออสเตรีย

Austria
Settled in prehistoric times[8], the central European land that is now Austria was occupied in pre-Roman times by various Celtic tribes. The Celtic kingdom of Noricum was claimed by the Roman Empire and made a province. After the fall of the Roman Empire, of which most of Austria was part (all parts south of the Danube), the area was invaded by Bavarians, Slavs and Avars.[9] Charlemagne conquered the area in 788 and encouraged colonization and Christianity[9]. As part of Eastern Francia, the core areas that now encompass Austria were bequeathed to the house of Babenberg. The area was known as the marchia Orientalis and was given to Leopold of Babenberg in 976.[10]
The first record showing the name Austria is from 996 where it is written as Ostarrîchi, referring to the territory of the Babenberg March[10]. The term Ostmark is not historically ascertained and appears to be a translation of marchia orientalis that came up only much later.
The following centuries were characterized by the settlement of the country. In 1156 the
Privilegium Minus elevated Austria to the status of a duchy. In 1192, the Babenbergs also acquired the Duchy of Styria.
With the death of
Frederick II in 1246, the line of the Babenbergers went extinct.[11] Otakar II of Bohemia effectively controlled the duchies of Austria, Styria and Carinthia after that.[11] His reign came to an end with his defeat at Dürnkrut at the hand of Rudolf I of Germany in 1278.[12] Thereafter, until World War I, Austria's history was largely that of its ruling dynasty, the Habsburgs.
ออสเตรีย
ประวัติศาสตร์
ก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ดินแดนซึ่งเป็นประเทศออสเตรียในปัจจุบัน ได้มีชนชาติต่างๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ที่สำคัญได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันซึ่งได้ข้ามแม่นำดานูปลงมาทางใต้ และชาวสลาฟซึ่งได้อาศัยอยู่ทางตอนใต้ของออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 กษัตริย์ Charlemagne ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบ และดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการป้องกันการรุกรานของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อต จึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสตศาสนาในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์ Babenberg ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี ค . ศ . 976 ซึ่งยังมีประชาชนอยู่เพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม ในศตวรรษต่อๆ มา ราชวงศ์ Babenberg ได้ใช้ยุทธศาสตร์สร้างความแข็งแกร่งให้แก่อาณาจักร และขยายประเทศไปอย่างกว้างขวาง ภายหลังจากที่ราชวงศ์ Babenberg ได้หมดอำนาจลงในกลางศตวรรษที่ 13 ราชวงศ์ Habsburg ได้เข้ามามีอำนาจในดินแดนนี้แทน และขยายอาณาเขตออกไปจนถึงแถบประเทศสเปน จนกระทั่ง ในปี 1522 ราชวงศ์ Habsburg จึงได้แตกออกเป็นสายออสเตรีย และสายสเปน อย่างไรก็ตาม ราชวงศ์ Habsburg ยังคงขยายอาณาเขตต่อไป โดยในปี ค . ศ . 1526 ได้ผนวกดินแดนโบฮีเมียและฮังการี เข้าไว้ด้วย ทั้งนี้ ในช่วงศตวรรษที่ 16 และ 17 ออสเตรียต้องเผชิญหน้ากับอาณาจักรออตโตมัน แต่โดยที่ออสเตรียสามารถเอาชนะกองทัพของอาณาจักรออตโตมันได้ ออสเตรียจึงได้ครอบครองดินแดนเพิ่มขึ้น และกลายเป็นมหาอำนาจรายหนึ่งในยุโรป ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 จักพรรดินีมเรีย เธเรซาและโจเซฟ ที่สอง ได้ทำการปฏิรูป และวางรากฐานการปฏิรูปการบริหารจัดการของรัฐให้ทันสมัย แต่การปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน ได้ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้นเปลี่ยนไป นอกจากนี้ หลังจากที่อิตาลีได้ก่อตั้งขึ้นเป็นประเทศ ราชวงศ์ฮับสบรูกส์ต้องยินยอมต่อการเคลื่อนไหวของนักชาตินิยมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และในปี ค . ศ . 1867 จักพรรดิฟรันซ์ โจเซฟ จึงได้ยอมตั้งราชวงศ์ร่วม (double monarchy) ออสเตรีย - ฮังการี ราชวงศ์ออสเตรีย-ฮังการี เป็นผู้เริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่างปี ค . ศ . 1914-1918 อันมีสาเหตุเนื่องมากจากการลอบสังหารเจ้าชาย Francis-Ferdinand ซึ่งเป็นทายาทของราชวงศ์ออสเตรีย - ฮังการี โดยนักชาตินิยมชาวเซิร์บโดยออสเตรียเป็นฝ่ายแพ้สงคราม และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลง ออสเตรียจึงได้ประกาศตัวเป็นสาธารรัฐแต่ในขณะนั้น ออสเตรียมิได้มีอำนาจดังเช่นในอดีตแล้ว ในปี ค . ศ . 1938 ออสเตรียถูกกดดันจากเยอรมนีภายใต้การนำของฮิตเลอร์ และประสบกับภาวะการขาดเสถียรภาพภายในประเทศในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่ง ในปี ค . ศ . 1945 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ประเทศพันธมิตรได้ช่วยออสเตรียให้ฟื้นตัวขึ้นสู่ความเป็นประเทศสาธารณรัฐอีกครั้ง แต่ออสเตรียยังคงถูกยึดครองโดยกองทัพฝรั่งเศส อังกฤษ สหภาพโซเวีตและสหรัฐอเมริกาจนถึงปี 1955 ซึ่งได้มีการลงนามในสนธิสัญญาประเทศออสเตรีย และในปีเดียวกันรัฐสภาออสเตรียได้ออกกฎหมายให้ออสเตรียเป็นประเทศที่มีสถานะเป็นกลางอย่างถาวร รวมทั้งได้เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติด้วย ออสเตรียได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค . ศ . 1995 และได้เป็นประธานสภาสหภาพยุโรปเป็นครั้งแรกในครึ่งหลังของปี ค . ศ . 1995.

วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2551

Thai political talk show
September 15, 2005
Thailand's popular political talk show, Muang Thai Rai Sapda has been dropped by Channel 9. Hosted by Sondi Limthongkul, the show was notorious for its criticism of the Thai government.
Sondhi, the presenter, and founder of a popular newspaper and magazine, Pujatkran (Eng: Manager), accused the network of making a politically motivated decision.
MCOT Plc, which owns the channel, issued a statement saying the company had to remove the programme after several warnings to Sondhi to exercise caution when making comments and to adhere to the basic journalistic principle of not violating the rights and freedom of others.
It said Sondhi had made several one-sided attacks on people who had no chance of countering his accusations. According to the statement, in his 8 September programme Sondhi said the appointment of the interim Supreme Patriarch infringed on a royal prerogative and had made reference to the monarchy in a way that might cause public misunderstanding.
Reacting to the accusation, Sondhi said MCOT distorted the facts to turn public sentiment against him. "I don't mind being removed because I am critical of the government, but do not say that I infringed on a royal prerogative," he said. Sondhi said his reference to the monarchy was made with respect.


รายการ เมืองไทยรายสัปดาห์ ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 ได้หยุดออกอากาศ มีบทวิจารณ์ในทางที่ไม่ค่อยดีของรัฐบาลไทยออกมาให้เห็น โดยผู้ดำเนรายการคือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้ง นสพ.ผู้จัดการถูกกล่าวหาเกี่ยวกับการทำงานโดยไปวิจารณ์การเมืองไทย

วันนี้ อ. ปัญจาถามว่า Latin America อยู่ที่ไหน พวกเราก็ได้แต่นั่นงง ไม่รู้จะตอบยังไง นี่ไงคำตอบ
L’expression Amérique latine peut désigner :
selon un critère linguistique, l’ensemble des pays du
continent américain où l’on parle des langues latines (langues romanes), essentiellement l’espagnol ou le portugais (faisant donc partie de l’hispanophonie et de la lusophonie), et dans une bien moindre mesure le français (Haïti, Guyane française, Guadeloupe, Martinique). L’Amérique latine comprend donc la majeure partie de l'Amérique du Sud, de l’Amérique centrale et en l’Amérique du Nord (le Mexique, voire le Nouveau-Mexique). Dans un sens beaucoup plus large (et très minoritaire), on y ajouterait le Québec, l’Acadie, la Louisiane (Nouvelle-France) et Saint-Pierre-et-Miquelon.
selon un critère
géographique et culturel et selon une division couramment admise, l’espace compris de la Mexamerica au Nord, à la Terre de Feu au sud et comprenant, le Mexique, l’Amérique centrale et caraïbe, les pays andins, le Cône sud et le Brésil. Ce vaste ensemble de 22 millions de km² et de plus de 540 millions d’habitants connaît de profondes disparités mais trouve son identité dans des histoires coloniales et des conquêtes d’indépendances similaires, des modes d’occupation de l’espace et des rapports sociaux comparables.[1]
selon un critère
géopolitique, une « représentation […] qui va à l’encontre de la division classique et géologique du continent en trois parties» , un ensemble que l’on peut opposer à l’Amérique du Nord anglo-saxonne.[2]
ลาตินอเมริกา (โปรตุเกส:América Latina ฝรั่งเศส:Amerique Latine สเปน:Latinoamérica หรือ América Latina) คือ กลุ่มประเทศในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ที่พูดภาษากลุ่มโรมานซ์ เป็นหลัก ได้แก่
อาร์เจนตินา
โบลิเวีย
บราซิล
ชิลี
โคลอมเบีย
คอสตาริกา
คิวบา
สาธารณรัฐโดมินิกัน
เอกวาดอร์
เอลซัลวาดอร์
กัวเตมาลา
เฮติ
ฮอนดูรัส
เม็กซิโก
นิการากัว
ปานามา
ปารากวัย
เปรู
อุรุกวัย
เวเนซุเอลา
vocabulaire
1. pays nm. ประเทศ
2.essentiellement สำคัญ
3.couramment ad. อย่างคลองแคล่ว, อย่างง่ายดาย ,โดยทั่วไป
4.compris a. รวมอยู่ด้วย
5.division nf. การแบ่ง,แผนก,ควาเห็นแตกต่างกัน
6.opposer vt. เผชิญ, ต้าน
7.vaste a. กว้างใหญ่,ไพศาล,กว้างขวาง
8.moindre a. น้อยกว่า,เล็กกว่า
9.mesure nf. ส่วน,ขนาด,เกณฑ์
10.rapports nm. รายได้ของแผ่นดิน,กำไร,ผลประโยชน์