วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ตารางสอบ O-NET และ A-NET


ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 6 สอบ 2 วัน

วัน เดือน ปี เวลา วันที่สอบ
21 กุมภาพันธ์ 2552


08.30 – 10.30 น. สังคมศึกษาฯ 2 ชั่วโมง พัก 1 ชั่วโมง
11.30 – 13.30 น. คณิตศาสตร์ 2 ชั่วโมง พัก 1 ชั่วโมง
14.30 –
16.30 น. ภาษาอังกฤษ 2 ชั่วโมง


22 กุมภาพันธ์ 2552
08.30 – 10.30 น. ภาษาไทย 2 ชั่วโมง พัก 1 ชั่วโมง
11.30 – 13.30 น. วิทยาศาสตร์ 2 ชั่วโมง พัก 1 ชั่วโมง
14.30 – 16.30 น. สุขศึกษาพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี


ตารางวัน เวลา และสถานที่สอบ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูง (A-NET)
เพื่อสมัครเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีการศึกษา 2552


วันสอบ เวลา รหัสและชื่อวิชา สถานที่สอบ



วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552

08.30 – 10.30 น. 11 ภาษาไทย 2
12.00 – 14.00 น. 14 คณิตศาสตร์ 2
15.00 – 17.00 น. 12 สังคมศึกษา 2



วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม 2552

08.30 – 11.30 น. 15 วิทยาศาสตร์ 2
12.30 – 14.30 น. 13 ภาษาอังกฤษ 2
15.00 – 17.00 น. 31 ภาษาฝรั่งเศส
32 ภาษาเยอรมัน
33 ภาษาบาลี
34 ภาษาอาหรับ
35 ภาษาจีน
36 ภาษาญี่ปุ่น
จัดสอบทุกหน่วย
สอบทั่วประเทศ

วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

Saint-Valentin

Saint-Valentin
Le jour de la Saint-Valentin, le 14 février, est considéré dans de nombreux pays comme la fête des amoureux et de l'amitié. Les couples en profitent pour échanger des mots doux et des cadeaux comme preuves d’amour ainsi que des roses rouges qui sont l’emblème de la passion.
À l’origine fête de l’
Église catholique, le jour de la Saint-Valentin n’aurait pas été associé avec l’amour romantique avant le haut Moyen Âge mais avec l'amour physique. La fête est maintenant associée plus étroitement à l’échange mutuel de « billets doux » ou de valentins illustrés de symboles tels qu’un cœur ou un Cupidon ailé.
À l’envoi de billets au XIXe siècle a succédé l’échange de cartes de vœux. On estime qu’environ un milliard de ces cartes sont expédiées chaque année à l’occasion de la Saint Valentin,

วันเสาร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2552

ปาย

Pai

Symbols
The district slogan is Pai River, worship Luang Pho Un Mueang, spread good kind of garlic, surrounded by lush forests, way of life evenly between hot and cold.


ประวัติศาสตร์
อำเภอปายเป็นเมืองเก่าแก่ ประชากรที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนแห่งนี้มาแต่เดิมคือ ชาวพ่ายหรือไปร ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาตระกูลออสโตร-เอเชียติก สาขาว้า-เรียง ดังมีร่องรอยหลักฐานซากวิหารและเจดีย์กระจายอยู่ทั่วไปทั้งบนภูเขาสูง ที่ดอนเชิงเขา บริเวณพื้นราบลุ่มน้ำปาย บางแห่งก่อสร้างด้วยหิน เช่น ในผืนป่าบริเวณใกล้น้ำตกเอิกเกอเต่อ ซึ่งเป็นต้นน้ำแม่ปิงน้อย บางแห่งมีการขุดคูเป็นร่องลึกบนภูเขาสูงชัน มีเจดีย์บนยอดเขา
มีหลักฐานว่าเจ้าเมืองคนแรกคือ ขุนส่างปาย ในสมัยพระเจ้าโหตรประเทศ
พระราชาธิบดีเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ส่งเจ้าแก้วเมืองออกสำรวจชายแดน ได้พบว่าภูมิประเทศน่าสนใจ จึงแนะนำให้ขุนส่างปายย้ายเมืองมาตั้งฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปายเพราะเป็นที่ราบกว้างขวาง ผู้คนจึงเรียกเมืองใหม่ว่า "เวียงใต้" ส่วนเมืองเก่าเรียกว่า "เวียงเหนือ"

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
เมืองปายเป็นเมืองที่มีคนตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในสมัยประวัติศาสตร์บริเวณที่ตั้งเมืองปายเป็นเมืองสำคัญของล้านนาในสมัยราชวงศ์มังราย
ซึ่งมีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง ต่อมาเมืองปายได้ร้างไปพร้อมกับเมืองเชียงใหม่ ประมาณปี พ.ศ.2318-2338 เมืองปายได้ฟื้นฟูเป็นหมู่บ้านและพัฒนาเป็นอำเภอปาย โดยมีผู้คนหลายกลุ่มชาติพันธุ์อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ ได้แก่ คนไทยวน(คนเมือง) ชาวไทใหญ่ ชาวปกาเกอญอ(กะเหรี่ยง) และชาวไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆ ทั้งนี้เนื่องจากเมืองปายตั้งอยู่ในบริเวณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย เหมาะสำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปัจจุบันเมืองปายเป็นเมืองชุมทางที่สำคัญเมืองหนึ่งบนเส้นทางระหว่างเชียงใหม่กับแม่ฮ่องสอน

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2552

ตรุษจีน


ตรุษจีน หรือ เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตัวเต็ม: 春節, ตัวย่อ: 春节, พินอิน: Chūnjíe ชุนเจี๋ย) หรือ ขึ้นปีเพาะปลูกใหม่ (ตัวเต็ม: 農曆新年, ตัวย่อ:


农历新年, พินอิน: Nónglì Xīnnián หนงลี่ ซินเหนียน) และยังรู้จักกันในนาม วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีน


ในจีนแผ่นดินใหญ่และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 ของปีตามจันทรคติ (正月 พินอิน: zhèng yuè เจิ้งเยฺว่) และสิ้นสุด


ในวันที่ 15 ซึ่งจะเป็นเทศกาลประดับโคมไฟ (ตัวเต็ม: 元宵節, ตัวย่อ: 元宵节, พินอิน: yuán xiāo jié หยวนเซียวเจี๋ย)

คืนก่อนวันตรุษจีน ตามภาษาจีนกลางเรียกว่า 除夕 (พินอิน: Chúxì ฉูซี่) หมายถึงการผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน

ตรุษจีน มีการเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนขนาดใหญ่ของคนเชื้อสายจีน ตรุษจีนถือเป็นวันหยุดที่สำคัญมากช่วงหนึ่งของชาวจีน และยังแผ่อิทธิพลไปถึงการ


ฉลองปีใหม่ของชนชาติที่อยู่รายรอบ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เมี่ยน ม้ง มองโกเลีย เวียดนาม ทิเบต เนปาล และภูฐาน สำหรับชาวจีนที่อาศัยอยู่ต่างถิ่นกันก็จะมีประเพณี


เฉลิมฉลองต่างกันไป ในประเทศไทย

Nouvel An chinois


Nouvel An chinois


Le Nouvel An chinois ou Nouvel An du calendrier chinois (sinogrammes traditionnels :


農曆新年 ; sinogrammes simplifiés : 农历新年 ; hanyu pinyin : nónglì xīnnián) ou « passage de


l’année » (traditionnels : 過年 ; simplifiés : 过年 ; pinyin : guònián) est le premier jour du premier


mois du calendrier chinois. C'est le début de la fête du printemps (traditionnels : 春節 ;


simplifiés : 春节 ; pinyin : chūnjié) qui se déroule sur quinze jours et s’achève avec la fête des


lanternes (traditionnels : 元宵節 ; simplifiés : 元宵节 ; pinyin : yuánxiāojié).

Le calendrier chinois étant un calendrier luni-solaire, la date du Nouvel An chinois dans le


calendrier grégorien varie d'une année sur l'autre, mais tombe toujours entre le 21 janvier et le


20 février. C’est, comme tous les commencements de mois lunaires chinois, le premier jour d'une


nouvelle Lune. Par convention, l'alignement astronomique qui signale la nouvelle Lune est



Le Nouvel An est célébré officiellement en Chine (sept jours de congés) et à Taïwan (cinq jours),


à Hong Kong et Macao (trois jours), ainsi que dans certains pays d’Asie où l’influence de la culture


chinoise est importante, ou dont la population comprend une forte minorité de Chinois


ethniques : Singapour et Malaisie (deux jours), Brunei et Indonésie (un jour), Viêt Nam (fête du


Têt, trois jours, avec un jour de décalage avec la Chine tous les 22 ou 23 ans pour compenser le


décalage horaire entre Pékin et Hanoï), Corée du Sud (fête de 새해 Seollal, trois jours). Les


congés du Nouvel An, qui peuvent être prolongés par un week-end ou un pont, sont une période


de migration intense, car nombreux sont ceux qui s’efforcent de rejoindre leur famille, depuis l


’étranger parfois : embouteillages sur les routes et encombrements dans les gares et les


aéroports sont la règle.

Il est observé individuellement partout dans le monde par les membres de la diaspora chinoise,


et parfois également par les Japonais (vieux premier mois 旧正月), les Miao, les Mongols, les